วันอาทิตย์ที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันที่พุธที่ 11มีนาคม พ.ศ.2558

ครั้งที่ 8
เนื้อหาที่เรียนภายในคาบ

เพื่อนนำเสนอบทความ
เลขทึ่ 21 การสอนคณิตศาสตร์จากชีวิตรอบตัว

ทบทวนความรู้สาระและมาตรฐานในการเรียนรู้

  • สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
  • สาระที่ 2 การวัด
  • สาระที่ 3 เรขาคณิต
  • สาระที่ 4 พีชคณิต
  • สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
  • สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์


นำเสนอรูปแบบการจัดประสบการณ์แบบโครงการ

  • จุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาความรู้
  • ความสำคัญ
  • วิธีการจัดการเรียนการสอน จะแบ่งออกเป็น 3 ระยะ

     1.วางแผนและเริ่มโครงการ
     2.พัฒนาโครงการ
     3.สรุปและอภิปรายโครงการ

  • ลักษณะรูปแบบการสอนโครงการ

     1.อภิปราย
     2.นำเสนอประสบการณ์เดิม
     3.การทำงานภาคสนาม
     4.การสืบค้น และตั้งคำถาม
     5.การจัดแสดงนิทรรศการ

ฝึกร้องเพลง และแปลงเนื้อเพลง

เพลงบวก-ลบ
บ้านฉันมีแก้วน้ำสี่ใบ   ครูให้อีกสามใบนะเธอ
มารวมกันนับดีดีซิเออ  ดูซิเธอรวมกันได้เจ็ดใบ
บ้านฉันมีแก้วน้ำเจ็ดใบ  หายไปสามใบนะเธอ
ฉันหาแก้วแล้วไม่เจอ  ดูซิเออเหลือเพียงแค่สี่ใบ

แปลงเนื้อเพลง
บ้านฉันมีแก้วน้ำสามใบ  พี่ให้อีกห้าใบนะเธอ
มารวมกันนับดีดีซิเออ  ดูซิเธอรวมกันได้แปดใบ
บ้านฉันมีแก้วน้ำแปดใบ  หายไปห้าใบนะเธอ
ฉันหาแก้วแล้วไม่เจอ  ดูซิเออเหลือเพียงแค่สามใบ

เพลงเท่ากัน-ไม่เท่ากัน
ช้างมีสี่ขา  ม้ามีสี่ขา
คนเรานัั้นหนา  สองขา ต่างกัน
ช้างม้ามี  สี่ขาเท่ากัน (ซ้ำ)
แต่กับคนนั้น  ไม่เท่ากันเอย (ซ้ำ)

แปลงเนื้อเพลง
ความยมีสี่ขา  กวางมีสี่ขา
เจ้านกนัั้นหนา  สองขา ต่างกัน
ความกวางมี  สี่ขาเท่ากัน (ซ้ำ)
แต่กับนกนั้น  ไม่เท่ากันเอย (ซ้ำ)

เพลงขวดห้าใบ
ขวดห้าใบวางอยู่บนกำแพง (ซ้ำ)
เราเอาหินปาไปให้มันกลิ้งตกลงมา
คงเหลือขวด.....ใบวางอยู่บนกำแพง
(ลดจำนวนขวดลงไปตามลำดับ จนกระทั่งเหลือขวด 1 ใบ)
ไม่มีขวดเหลือเลยวางอยู่บนกำแพง

เพลงจับปู
1  2  3  4  5     จับปูม้ามาได้หนึ่งตัว
6  7  8  9  10      ปูมันหนีบฉันต้องส่ายหัว
กลัว ฉันกลัว ฉันกลัว     ปูหนีบฉันที่หัวแม่มือ


วิธีการสอน

  1. ทบทวนความรู้เดิม
  2. มีการทำกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียน
  3. ทักษะที่ได้รับ
  4. ได้ทักษะการร้องเพลง แปลงเพลง ได้รู้เพลงใหม่ๆ มากขึ้น
  5. ได้ทักษะการคิดวิเคราะห์

การประยุกต์ใช้

  • สามารถนำความรู้จากการแปลงเพลงไปใช้ในการสอน ให้เหมาะกับเนื้อหาที่เด็กเรียน


บรรยากาศในห้องเรียน

  1. เพื่อนๆ ไม่มีความพร้อมในการเรียน
  2. อุปกรณ์ สื่อคอมพิวเตอร์ไม่ค่อยดี
  3. แอร์หนาวเย็น


ประเมินอาจารย์ผู้สอน

  1. อาจารย์มีเทคนิคการสอนหลากหลาย
  2. เข้าสอนตรงเวลา

วันเสาร์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนประจำวันที่พุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2558

ครั้งที่ 7
เนื้อหาการเรียนรู้

กิจกรรมการมาเรียนของนักเรียน

เป็นการจัดกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันซึ่งจะทำให้เด็กรู้ลำดับการมาก่อน มาหลัง ได้ภาษา ได้รู้ถึงตัวเลข

ทบทวนเพลงเก่า


  • รูปแบบการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบบรูณาการ
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบโครงการ
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบสมองเป็นฐาน
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบSTEM
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบมอนเตสเซอรี่
  • รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบเดินเรื่อง


ดิฉันนำเสนอโทรทัศน์ครู

เรื่องครูนิตยากับการสอนคณิตศาสตร์โดยใช้ลูกเต๋า

รูปแบบการจัดประสบการณ์แบบบรูณาการ

หมายถึงกระบวนการจัดประสบการณ์ตามความสนใจ ความสามารถโดยเชื่อมโยงเนื้อหาสาระของศาสตร์ต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ความสำคัญ
  • การจัดประสบการณ์แบบบรูณาการจะช่วยให้สามาดนำความรู้ ทักษะจากหลาย ๆ ศาสตร์มาแก้ไขปัญหาได้กับชีวิตประจำวัน
  • การจัดประสบการณ์แบบบรูณาการเกิความสัมพันธ์เชื่อมโยงความคิดรวบยอดของศาสตร์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันทำให้เกิดถ่ายโอนประสบการณ์ของศาสตร์ต่า ๆ เข้าด้วยกัน
  • ช่วยลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหารายวิชาต่าง ๆ 
  • จะช่วยตอบสนองต่อความสามาถในหลย ๆ ด้านของผู้เรียน จะช่วยสร้างความรู้ ทักษะและเจตคติแบบพหุปัญญา
  • สอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้โดยผู้เรียนที่กำลับเผยแพร่ในปัจจุบัน


สาระที่ควรเรียน
  • ตัวเด็ก
  • บุคคลและสถานที่
  • ธรรมชาติรอบตัว
  • สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
  • ทำ My Map เกี่ยวกับตัวเด็ก,บุคคลและสถานที่,ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก


วิธีการสอน
  1. ให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริงจากการทำกิจกรรม
  2. มีการทบทวนความรู้เดิม
  3. เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ตอบคำถามแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ
  4. ใช้เทคโนโลยีเข้ามาในการช่วยสอน

ทักษะที่ได้รับ
  1. ได้รับประสบการณ์จริงจากการทำกิจกรรม
  2. ได้ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์จากการทำกิจกรรม

การประยุกต์ใช้
  1. สามารถนำกิจกรรมที่อาจารย์สอนก่อนเรียนไปจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้

บรรยากาศในการสอน
  1. เพื่อนมาเรียนน้อย บรรยากาศค่อนข้างเงียบเหงา
  2. อุณหภูมิห้องเย็นจนเกินไป
  3. อาจารย์สอนสนุก ไม่น่าเบื่อ

ประเมินอาจารย์ผู้สอน


          อาจารย์สอนสนุก มีกิจกรรมสอนก่อนเข้าเรียนทุกคาบ ซึ่งกิจกรรมนี้จะทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์จริง สามารถนำไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้เด็กได้